Tag Archives: rackth.com

ทำความรู้จักกับตู้แร็ค

ไขข้อสงสัย ตู้ Rack คืออะไร? ทำไมถึงขาดไม่ได้?

ไขข้อสงสัย ตู้ Rack คืออะไร? ทำไมถึงขาดไม่ได้?

ใครที่ทำงานสายไอทีมีโอกาสคลุกคลีกับระบบ Server การเดินสายอุปกรณ์ Network ต่างๆ น่าจะคุ้นเคยกับอุปกรณ์อย่าง “ตู้ Rack” กันมาบ้าง เพราะนี่คือหนึ่งในอุปกรณ์สำคัญด้านการจัดเก็บที่ขาดไม่ได้ เป็นหนึ่งในอุปกรณ์ที่จะช่วยทำให้การทำงานของคุณนั้นเป็นระเบียบและดำเนินการได้ง่ายยิ่งขึ้นก็ว่าได้ ในวันนี้เราจะพามือใหม่ทุกคนมาทำความรู้จักกับตู้ Rack ไปพร้อมๆ กัน

ตู้ Rack คืออะไร?

ตู้ Rack คือ ตู้สำหรับเก็บอุปกรณ์ Server Computer และอุปกรณ์ Network ต่างๆ ทั้งสายสัญญาณ กล้องวงจรปิดหรืออุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทั้งด้านการติดตั้งและอิเล็กทรอนิกส์ ถือว่าเป็นตู้จัดเก็บอุปกรณ์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อการเก็บสิ่งเหล่านี้โดยเฉพาะ ช่วยทำให้คุณสามารถจัดเก็บอุปกรณ์สำคัญเหล่านี้ได้ดียิ่งขึ้น สำหรับการเลือกซื้อตู้ Rack นั้นจะแบ่งเป็นชั้น สามารถสังเกตได้ที่หน่วยความสูงคือ U (ยู) ตัวอย่างเช่น ขนาด 6U, 9U, 15U เป็นต้น และสำหรับหน่วยความกว้างจะมีการนับเป็นนิ้ว (inch)

wall rack
wall rack

ประเภทของตู้ Rack

ตู้ Rack ที่ดีจะต้อง ป้องกันแมลง กันฝุ่นและระบายความร้อนได้เป็นอย่างดี เนื่องจากอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกจัดเก็บไว้ข้างในมีความสำคัญต่อการทำงานอย่างมากและมีการทำงานตลอดเวลา นอกจากจะต้องดูแลเรื่องความปลอดภัยไม่ให้เกิดความเสียหายแล้ว การระบายความร้อนก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญเช่นกัน โดยคุณสามารถแบ่งตู้ Rack ได้ออกเป็น 3 ประเภทหลักๆ ดังนี้

1. ตู้ Close Rack

เริ่มกันที่ตู้ Rack แบบ Close Rack ซึ่งโดดเด่นเรื่องความแข็งแรงและการป้องกันเสียงเป็นพิเศษ เนื่องจากลักษณะของตู้ชนิดนี้จะเป็นประตูแบบปิดทึบนั่นเอง อย่างไรก็ตามเพื่อการตรวจสอบสิ่งของภายในอย่างสะดวก ประตูหน้าจะมีแผ่อะคริลิกอยู่ตรงกลางบ้างเพื่อการใช้งาน เป็นตู้ Rack ที่ถูกสุดจากทั้งหมด ได้รับความนิยมมากที่สุด เหมาะสำหรับการใช้งานในสำนักงานเพราะป้องกันเสียงและฝุ่นได้ดี

2. ตู้ Server Rack

อีกหนึ่งตู้ Rack ที่ได้รับความนิยมไม่แพ้กันก็คือแบบ Server Rack มีความโดดเด่นเรื่องการระบายความร้อน มีความแข็งแรงเป็นตู้ Rack ที่มีความปลอดภัยสูง แน่นอนว่าราคาขยับขึ้นมาจากแบบแรกไปอีกระดับ อย่างที่ทราบกันว่า อุปกรณ์ Server ต่างๆ มักจะมีการระบายความร้อนผ่านทางด้านหลัง ตู้ Server Rack ส่วนใหญ่จึงมีการทำรูระบายอากาศแบบรังผึ้งเอาไว้ทางประตูหลัง อย่างไรก็ตามตู้ Server Rack บางรุ่นยังมีรูระบายความร้อนแบบธรรมดาที่ประตูหน้าและด้านอื่นๆ ให้ได้ใช้งานอีกด้วย เรียกได้ว่าหมดห่วงเรื่องการระบายอากาศได้เลย

3. Curve Rack

มาที่ตู้ Rack ชนิดสุดท้ายอย่างตู้ Curve Rack กันบ้าง เป็นตู้ Rack ที่โดดเด่นเรื่องการระบายความร้อนเช่นกัน แต่ลักษณะของตู้ชนิดนี้จะเป็นการออกแบบที่เน้นเรื่องการระบายความร้อนรอบทิศทาง ไม่ว่าจะเป็นประตูหน้าหรือประตูหลังก็มีรูระบายอากาศเสมอ สำหรับประตูหน้าจะมีทรงโค้งเป็นเอกลักษณ์ มักจะเป็นตู้ขนาดใหญ่ มีความแข็งแรง ดูแลรักษาง่าย แม้จะมีราคาแพงกว่าตู้ Rack ชนิดอื่นๆ เมื่อเทียบขนาดกัน แต่ก็คุ้มค่าสมราคา

ไขข้อสงสัย ตู้ Rack คืออะไร
ไขข้อสงสัย ตู้ Rack คืออะไร

หลักๆ แล้วจะแตกต่างกันในส่วนของการระบายความร้อนและเกรดวัสดุที่นำมาผลิต นอกจากนี้แล้วตู้ Rack ทุกชนิดมักจะเพิ่มอุปกรณ์เสริมอย่างเช่นการติดตั้งพัดลมระบายอากาศเพิ่มเติมเข้าไปได้อีกด้วย ทั้งหมดนี้คุณสามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ

rack server is
rack server is

สายไอทีมีโอกาสคลุกคลีกับระบบ Server การเดินสายอุปกรณ์ Network ต่างๆ น่าจะคุ้นเคยกับอุปกรณ์อย่าง “ตู้ Rack” กันมาบ้าง เพราะนี่คือหนึ่งในอุปกรณ์สำคัญด้านการจัดเก็บที่ขาดไม่ได้ เป็นหนึ่งในอุปกรณ์ที่จะช่วยทำให้การทำงานของคุณนั้นเป็นระเบียบและดำเนินการได้ง่ายยิ่งขึ้นก็ว่าได้ ในวันนี้เราจะพามือใหม่ทุกคนมาทำความรู้จักกับตู้ Rack ไปพร้อมๆ กัน

ตู้ Rack คืออะไร?

ตู้ Rack คือ ตู้สำหรับเก็บอุปกรณ์ Server Computer และอุปกรณ์ Network ต่างๆ ทั้งสายสัญญาณ กล้องวงจรปิดหรืออุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทั้งด้านการติดตั้งและอิเล็กทรอนิกส์ ถือว่าเป็นตู้จัดเก็บอุปกรณ์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อการเก็บสิ่งเหล่านี้โดยเฉพาะ ช่วยทำให้คุณสามารถจัดเก็บอุปกรณ์สำคัญเหล่านี้ได้ดียิ่งขึ้น สำหรับการเลือกซื้อตู้ Rack นั้นจะแบ่งเป็นชั้น สามารถสังเกตได้ที่หน่วยความสูงคือ U (ยู) ตัวอย่างเช่น ขนาด 6U, 9U, 15U เป็นต้น และสำหรับหน่วยความกว้างจะมีการนับเป็นนิ้ว (inch)

wall rack
wall rack

ประเภทของตู้ Rack

ตู้ Rack ที่ดีจะต้อง ป้องกันแมลง กันฝุ่นและระบายความร้อนได้เป็นอย่างดี เนื่องจากอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกจัดเก็บไว้ข้างในมีความสำคัญต่อการทำงานอย่างมากและมีการทำงานตลอดเวลา นอกจากจะต้องดูแลเรื่องความปลอดภัยไม่ให้เกิดความเสียหายแล้ว การระบายความร้อนก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญเช่นกัน โดยคุณสามารถแบ่งตู้ Rack ได้ออกเป็น 3 ประเภทหลักๆ ดังนี้

1. ตู้ Close Rack

เริ่มกันที่ตู้ Rack แบบ Close Rack ซึ่งโดดเด่นเรื่องความแข็งแรงและการป้องกันเสียงเป็นพิเศษ เนื่องจากลักษณะของตู้ชนิดนี้จะเป็นประตูแบบปิดทึบนั่นเอง อย่างไรก็ตามเพื่อการตรวจสอบสิ่งของภายในอย่างสะดวก ประตูหน้าจะมีแผ่อะคริลิกอยู่ตรงกลางบ้างเพื่อการใช้งาน เป็นตู้ Rack ที่ถูกสุดจากทั้งหมด ได้รับความนิยมมากที่สุด เหมาะสำหรับการใช้งานในสำนักงานเพราะป้องกันเสียงและฝุ่นได้ดี

2. ตู้ Server Rack

อีกหนึ่งตู้ Rack ที่ได้รับความนิยมไม่แพ้กันก็คือแบบ Server Rack มีความโดดเด่นเรื่องการระบายความร้อน มีความแข็งแรงเป็นตู้ Rack ที่มีความปลอดภัยสูง แน่นอนว่าราคาขยับขึ้นมาจากแบบแรกไปอีกระดับ อย่างที่ทราบกันว่า อุปกรณ์ Server ต่างๆ มักจะมีการระบายความร้อนผ่านทางด้านหลัง ตู้ Server Rack ส่วนใหญ่จึงมีการทำรูระบายอากาศแบบรังผึ้งเอาไว้ทางประตูหลัง อย่างไรก็ตามตู้ Server Rack บางรุ่นยังมีรูระบายความร้อนแบบธรรมดาที่ประตูหน้าและด้านอื่นๆ ให้ได้ใช้งานอีกด้วย เรียกได้ว่าหมดห่วงเรื่องการระบายอากาศได้เลย

3. Curve Rack

มาที่ตู้ Rack ชนิดสุดท้ายอย่างตู้ Curve Rack กันบ้าง เป็นตู้ Rack ที่โดดเด่นเรื่องการระบายความร้อนเช่นกัน แต่ลักษณะของตู้ชนิดนี้จะเป็นการออกแบบที่เน้นเรื่องการระบายความร้อนรอบทิศทาง ไม่ว่าจะเป็นประตูหน้าหรือประตูหลังก็มีรูระบายอากาศเสมอ สำหรับประตูหน้าจะมีทรงโค้งเป็นเอกลักษณ์ มักจะเป็นตู้ขนาดใหญ่ มีความแข็งแรง ดูแลรักษาง่าย แม้จะมีราคาแพงกว่าตู้ Rack ชนิดอื่นๆ เมื่อเทียบขนาดกัน แต่ก็คุ้มค่าสมราคา

ไขข้อสงสัย ตู้ Rack คืออะไร
ไขข้อสงสัย ตู้ Rack คืออะไร

หลักๆ แล้วจะแตกต่างกันในส่วนของการระบายความร้อนและเกรดวัสดุที่นำมาผลิต นอกจากนี้แล้วตู้ Rack ทุกชนิดมักจะเพิ่มอุปกรณ์เสริมอย่างเช่นการติดตั้งพัดลมระบายอากาศเพิ่มเติมเข้าไปได้อีกด้วย ทั้งหมดนี้คุณสามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ

rack server is
rack server is

สนใจติดต่อซื้อตู้ rack ติดต่อ บริษัท แนปเทค จำกัด 092-265-1555 , 02-108-6808 หรือ LINE ID : @RACKTHAI

credit : ไขข้อสงสัย ตู้ Rack คืออะไร? ทำไมถึงขาดไม่ได้? (rackth.com)

จะออกแบบอุปกรณ์ในตู้ rack server สำหรับจุด lan ประมาณ 60 ตัว ต้องมีอะไรในตู้บ้างครับ มีภาพประกอบ

1409032621-rackdiagra-o

รูปด้านบนคือตัวอย่างที่หามาดู

จะออกแบบตู้ rack server แบบนี้ครับ มีจุด lan ประมาณ 50-60 ตัว ข้างในตู้ควรมีอะไรบ้าง การเลือกอุปกรณ์แต่ละอย่างมาใช้ ต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง
ปล.เป็นมือใหม่เพิ่งศึกษาครับ ช่วยแนะนำด้วยครับ

 

ในรูปนี่ถือว่าโอเคเลยนะครับ lan 60 จุด ใครเอา switch มายัดในตู้เดียวผมว่าแย่นะ ส่วนใหญ่ จะต่อจากคอร์สวิทต์ กันออกไปมากกว่า นอกเสียจากว่าห้องนั้นจะเป็นพวกห้องเรียนที่มีจำนวน com หลายๆตัว ประเด็นมันอยู่ที่ความเรียบร้อยในตู้มากกว่า ถ้าคนภายนอกที่ไม่ใช่ช่างเทคนิคมอง

http://www.rackth.com

นึกว่าท่านต้องทำงานส่งเจ้านาย
งั้นก็ลองคิดตามนี้ครับ
ในตู้ก็จะมี Server ส่วนกี่ตัว หน้าที่อะไรบ้าง ก็แล้วแต่ท่าน
ถ้ามี Server หลายตัว ก็พิจารณาเพิ่ม KVM Switch เข้าไปด้วย
จอมอนิเตอร์ อีก 1 ตัว
คีย์บอรด์ เม้าส์ ใช้ควบคุม Server อีกสักชุด
UPS ที่ท่านใส่ไว้ก็ถูกต้องแล้ว ส่วนกำลังไฟ ก็แล้วแต่ระยะเวลาที่ท่านต้องการจะจ่ายไฟเลี้ยงกรณีไฟฟ้าหลักดับ
ผมไกด์ว่า ถ้าจะมี LAN 60 จุด ท่านคงไม่คิดจะต่อ Device ตรงๆเข้ากับ Switch น๊ะครับ
ถ้าอย่างนั้นก็เพิ่ม Patch panel แบบ 48 port สัก 2 ตัว
Swich 48 port สัก 2 ตัว
ที่เหลือก็แล้วแต่ท่านจะเพิ่มเติมเข้าไปเช่นต้องการเชื่อมต่อ Internet ก็ต้องมี Modem/Router ครับ
คร่าวๆประมาณนี้
แนะนำให้คิดจากโจทย์ที่เรามีครับ เช่นเราต้องการต่อ Device ทาง LAN จำนวน 60 จุด
ทุกจุดต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้
ส่วนหน้าที่ของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น  Bridge คืออะไร Router คืออะไร ท่านต้องศึกษาเพิ่มเติมล่ะครับ

 

วัตถุประสงค์ (การจ ั ดการต ้ แ ู ร ็ ค)

วัตถุประสงค์ (การจ ั ดการต ้ แ ู ร ็ ค) • ก าหนดมาตรฐานการเชื่อมต่อ 1. เพื่อก าหนดมาตรฐานการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในตู้แร็คเป็ นทิศทางเดียวกัน 2. เพื่อจัดท าแนวปฏิบัติที่ดีการเชื่อมต่อสายสัญญาณและอุปกรณ์เครือข่ายในตู้แร็ค 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารข้อมูลให้ดียิ่งขึ ้น 4. เพื่อการจัดการอุปกรณ์เครือข่ายในตู้แร็ค ง่าย สะดวก และรวดเร็วขึ ้น 5. เพื่อลดความผิดพลาดการเชื่อมต่อขยายอุปกรณ์ในตู้แร็ค 6. เพื่อลดการชนกันของข้อมูลภายในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้น้อยลง

 

มาตรฐานแนวปฏิบัติที่ดี • แนวปฏิบัติที่ดีแบ่งเป็ น 3 ส่วน – ห้องติดตั ้งตู้แร็ค – ตู้แร็คประจ าอาคาร – อุปกรณ์ภายในตู้แร็ค

ห ้ องตด ิ ตัง้ต ้แร็ค ู – ห้องควรสะอาดปลอดจากฝุ่ นละออง หรือห้องท าความสะอาดอย่างสม ่าเสมอ – ห้องมีเครื่องปรับอากาศเปิ ดใช้งาน หรือมีอากาศถ่ายเท ได้สะดวก ในกรณีไม่มีเครื่องปรับอากาศ – เครื่องปรับอากาศเปิ ดใช้งานตลอดเวลา หรืออย่างน้อย เปิ ด/ปิ ด ตามเวลาท างานราชการ – ห้องปลอดจากเศษอาหาร หรือไม่น าอาหารเข้ามา ทานในห้อง

 

ต ้แร็คป ู ระจ าอาคาร – ห้ามน าสิ่งของวางทับบนตู้แร็ค เพราะปิ ดกั ้นการระบายอาคารภายในตู้แร็ค – ห้ามน าสิ่งของวางปิ ดกั ้นฝาเปิ ดตู้แร็ค เพราะปิ ดกั ้นการตรวจสอบไฟสถานะอุปกรณ์ – ห้ามน าสิ่งใดๆ ติดไว้ที่ตู้แร็ค เช่น สติ๊กเกอร์ แม็กเน็ต กระดาษโน้ต เป็ นต้น – ฝาเปิ ดปิ ดตู้แร็คต้องถูกปิ ดและล็อคกุญแจให้เรียบร้อย

 

อ ุ ปกรณ ์ ภายในต ้ ู แร็ค – สายไฟเบอร์ออฟติก จัดเก็บปลายสายเข้าแผงกระจายสายไฟเบอร์ออฟติกให้เรียบร้อย – แผงกระจายสายไฟเบอร์ออฟติก (Fiber optic patch panel) ต้องท าป้ ายชื่อ (Label) บอกต าแหน่งปลายสายไฟเบอร์เชื่อมต่อมาจากที่ใดให้ชัดเจน – สายไฟเบอร์ออฟติกแพทช์คอร์ด (Fiber optic patch cord) ต้องจัดเก็บสายให้ เรียบร้อย (เชื่อมต่อระหว่างแผงกระจายสายไฟเบอร์ออฟติกกับอุปกรณ์สวิตช์หลักประจ า

อ ุ ปกรณ ์ ภายในต ้ ู แร็ค – อ ุ ปกรณ ์ สว ิ ตช ์ หลักประจา ต ้ ู แร็ค อนุญาตเชื่อมต่อเฉพาะสายไฟเบอร์ออฟติก สายแลน ยูทีพี (UTP) จากอุปกรณ์กระจายสัญญาณไวเลสแลน สวิตช์ภายในตู้แร็ค กล้องวงจรปิ ด เครื่องคอมพิวเตอร์ในกรณีอุปกรณ์สวิทต์รองช่องสัญญาณเต็ม – แผงกระจายสายย ู ทพ ีี(UTP Patch panel) ต้องมีป้ ายชื่อหรือหมายเลข (Label) ก ากับ แจ้งต าแหน่งปลายสาย เพื่อให้ทราบว่าเชื่อมต่อออกไปยังที่ใดให้ชัดเจน

สายย ู ทพ ี แพทช์ ี คอร์ด (UTP Patch cord) ปลายสายทั ้งสองด้านต้องติดป้ ายก ากับให้ ตรงกัน และจัดเก็บสายสัญญาณให้เรียบร้อย – อุปกรณ์สวิตช์รองภายในตู้แร็ค ท าหน้าที่รวมสายสัญญาณจากอุปกรณ์ไอซีที เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ โทรศัพท์ เป็ นต้น

แนวปฏิบัติการติดตั้งสวิทช์และฮับ (Switch and Hub Installation) วัตถุประสางค์ – เพื่อเป็ นแนวปฏิบัติส าหรับการบริหารจัดการอุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่ายให้มีความปลอดภัยจาก ภัยคุกทางอินเทอร์เน็ต ที่จะท าให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรและข้อมูลของมหาวิทยาลัย ผู้ปฏิบัติ – ผู้ดูแลระบบ และผู้ใช้งาน แนวปฏิบัติ – การเชื่อมต่ออุปกรณ์สวิทช์ หรือฮับ หรืออุปกรณ์เชื่อมต่ออื่นใด ที่น ามาเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย ของมหาวิทยาลัยจะต้องได้รับอนุญาตก่อนเท่านั ้น – การติดตั ้งสายแลน (UTP) บนอุปกรณ์สวิทช์และฮับที่ส านักคอมพิวเตอร์ดูแล จะต้องแจ้งส านัก คอมพิวเตอร์ก่อนด าเนินการทุกครั ้ง – หมายเลขไอพีแอดเดรส (IP Address) บนอุปกรณ์สวิทช์ต้องเป็ นหมายเลขที่ก าหนดโดย ส านักคอมพิวเตอร์เท่านั ้น ห้ามด าเนินการโดยมิได้รับอนุญาต – อุปกรณ์สวิทช์ทุกตัวต้องสามารถตรวจสอบการท างานผ่านโปรโตคอล (Protocol) SNMP ได