วัตถุประสงค์ (การจ ั ดการต ้ แ ู ร ็ ค) • ก าหนดมาตรฐานการเชื่อมต่อ 1. เพื่อก าหนดมาตรฐานการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในตู้แร็คเป็ นทิศทางเดียวกัน 2. เพื่อจัดท าแนวปฏิบัติที่ดีการเชื่อมต่อสายสัญญาณและอุปกรณ์เครือข่ายในตู้แร็ค 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารข้อมูลให้ดียิ่งขึ ้น 4. เพื่อการจัดการอุปกรณ์เครือข่ายในตู้แร็ค ง่าย สะดวก และรวดเร็วขึ ้น 5. เพื่อลดความผิดพลาดการเชื่อมต่อขยายอุปกรณ์ในตู้แร็ค 6. เพื่อลดการชนกันของข้อมูลภายในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้น้อยลง
มาตรฐานแนวปฏิบัติที่ดี • แนวปฏิบัติที่ดีแบ่งเป็ น 3 ส่วน – ห้องติดตั ้งตู้แร็ค – ตู้แร็คประจ าอาคาร – อุปกรณ์ภายในตู้แร็ค
ห ้ องตด ิ ตัง้ต ้แร็ค ู – ห้องควรสะอาดปลอดจากฝุ่ นละออง หรือห้องท าความสะอาดอย่างสม ่าเสมอ – ห้องมีเครื่องปรับอากาศเปิ ดใช้งาน หรือมีอากาศถ่ายเท ได้สะดวก ในกรณีไม่มีเครื่องปรับอากาศ – เครื่องปรับอากาศเปิ ดใช้งานตลอดเวลา หรืออย่างน้อย เปิ ด/ปิ ด ตามเวลาท างานราชการ – ห้องปลอดจากเศษอาหาร หรือไม่น าอาหารเข้ามา ทานในห้อง
ต ้แร็คป ู ระจ าอาคาร – ห้ามน าสิ่งของวางทับบนตู้แร็ค เพราะปิ ดกั ้นการระบายอาคารภายในตู้แร็ค – ห้ามน าสิ่งของวางปิ ดกั ้นฝาเปิ ดตู้แร็ค เพราะปิ ดกั ้นการตรวจสอบไฟสถานะอุปกรณ์ – ห้ามน าสิ่งใดๆ ติดไว้ที่ตู้แร็ค เช่น สติ๊กเกอร์ แม็กเน็ต กระดาษโน้ต เป็ นต้น – ฝาเปิ ดปิ ดตู้แร็คต้องถูกปิ ดและล็อคกุญแจให้เรียบร้อย
อ ุ ปกรณ ์ ภายในต ้ ู แร็ค – สายไฟเบอร์ออฟติก จัดเก็บปลายสายเข้าแผงกระจายสายไฟเบอร์ออฟติกให้เรียบร้อย – แผงกระจายสายไฟเบอร์ออฟติก (Fiber optic patch panel) ต้องท าป้ ายชื่อ (Label) บอกต าแหน่งปลายสายไฟเบอร์เชื่อมต่อมาจากที่ใดให้ชัดเจน – สายไฟเบอร์ออฟติกแพทช์คอร์ด (Fiber optic patch cord) ต้องจัดเก็บสายให้ เรียบร้อย (เชื่อมต่อระหว่างแผงกระจายสายไฟเบอร์ออฟติกกับอุปกรณ์สวิตช์หลักประจ า
อ ุ ปกรณ ์ ภายในต ้ ู แร็ค – อ ุ ปกรณ ์ สว ิ ตช ์ หลักประจา ต ้ ู แร็ค อนุญาตเชื่อมต่อเฉพาะสายไฟเบอร์ออฟติก สายแลน ยูทีพี (UTP) จากอุปกรณ์กระจายสัญญาณไวเลสแลน สวิตช์ภายในตู้แร็ค กล้องวงจรปิ ด เครื่องคอมพิวเตอร์ในกรณีอุปกรณ์สวิทต์รองช่องสัญญาณเต็ม – แผงกระจายสายย ู ทพ ีี(UTP Patch panel) ต้องมีป้ ายชื่อหรือหมายเลข (Label) ก ากับ แจ้งต าแหน่งปลายสาย เพื่อให้ทราบว่าเชื่อมต่อออกไปยังที่ใดให้ชัดเจน
สายย ู ทพ ี แพทช์ ี คอร์ด (UTP Patch cord) ปลายสายทั ้งสองด้านต้องติดป้ ายก ากับให้ ตรงกัน และจัดเก็บสายสัญญาณให้เรียบร้อย – อุปกรณ์สวิตช์รองภายในตู้แร็ค ท าหน้าที่รวมสายสัญญาณจากอุปกรณ์ไอซีที เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ โทรศัพท์ เป็ นต้น
แนวปฏิบัติการติดตั้งสวิทช์และฮับ (Switch and Hub Installation) วัตถุประสางค์ – เพื่อเป็ นแนวปฏิบัติส าหรับการบริหารจัดการอุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่ายให้มีความปลอดภัยจาก ภัยคุกทางอินเทอร์เน็ต ที่จะท าให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรและข้อมูลของมหาวิทยาลัย ผู้ปฏิบัติ – ผู้ดูแลระบบ และผู้ใช้งาน แนวปฏิบัติ – การเชื่อมต่ออุปกรณ์สวิทช์ หรือฮับ หรืออุปกรณ์เชื่อมต่ออื่นใด ที่น ามาเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย ของมหาวิทยาลัยจะต้องได้รับอนุญาตก่อนเท่านั ้น – การติดตั ้งสายแลน (UTP) บนอุปกรณ์สวิทช์และฮับที่ส านักคอมพิวเตอร์ดูแล จะต้องแจ้งส านัก คอมพิวเตอร์ก่อนด าเนินการทุกครั ้ง – หมายเลขไอพีแอดเดรส (IP Address) บนอุปกรณ์สวิทช์ต้องเป็ นหมายเลขที่ก าหนดโดย ส านักคอมพิวเตอร์เท่านั ้น ห้ามด าเนินการโดยมิได้รับอนุญาต – อุปกรณ์สวิทช์ทุกตัวต้องสามารถตรวจสอบการท างานผ่านโปรโตคอล (Protocol) SNMP ได